วันพุธที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2555


10th assignment : Combining Sentence


Combining Sentence 

              compound sentence หรือประโยคประสม คือประโยคที่ประกอบด้วยประโยคย่อยอิสระ ( independent clause) ซึ่งเป็นประโยคความเดียว ( simple sentence) ที่มีความหมายเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันตั้งแต่ 2 ประโยคขึ้นไป รวมกันเป็นประโยคเดียวโดยในการเชื่อมความ 

การเชื่อมประโยค compound sentence 
          คือประโยคที่ประกอบด้วยประโยคย่อยอิสระ ( independent clause) ซึ่งเป็น
ประโยคความเดียว ที่มีความหมายเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันตั้งแต่ 2 ประโยคขึ้นไป
รวมกันเป็นประโยคเดียวโดยในการเชื่อมความ อาจใช้
 - เครื่องหมายอัฒภาค หรือ semi-colon (;) Semi- colon (;) ใช้ประโยคในกรณีที่ผู้เขียนยังรู้สึกไม่อยากขึ้นต้นประโยคใหม่ เพราะเห็นว่าใจความยังต่อเนื่องคาบเกี่ยวกันอยู่ ซึ่งก็เป็นความรู้สึกของผู้เขียนประโยคนั้นเท่านั้น ผู้เขียนคนอื่นอาจรู้สึกเป็นอย่างอื่น และอาจจะใช้ period (.) แทน semi_colon ขึ้นต้นประโยคใหม่ก็ได้
ตัวอย่าง
Daeng was sick ; he didn,t work yesterday.
= Daeng was sick. He didn work yesterday.
แดงไม่สบาย เขาไม่ทำงานเมื่อวาน

- เครื่องหมาย Colon (:) และ Dash (-) 2 เครื่องหมายอันนี้ใช้เชื่อมในกรณีที่เขียนเห็นว่าผลของประโยคหลังมีสาเหตุมาจากประโยคข้างหน้าโดยแท้ เช่นจากตัวอย่างข้างบนถ้าผู้เขียนเห็นว่า การที่แดงไม่ทำงานเมื่อวานนี้ก็เป็นผลโดยตรงจากการไม่สบาย ก็อาจใช้ colon หรือ dash มาเชื่อมแทนได้
ตัวอย่าง
Daeng was sick : he didn t work yesterday.
หรือ Daeng was sick - he didn t work yesterday.
= Daeng was sick ; he didn t work yesterday.
= Daeng was sick . he didn t work yesterday.

การเชื่อมด้วย conjunctive abverb

             Conjunctive Abverb (คำวิเศษเชื่อม) Simple Sentence เพื่อให้เป็น Compound Sentence นั้นแบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือ
  -  ชนิดคำที่มีลักษณะเป็นการเติมเข้ามาเพื่อเน้นให้ผู้อ่านผู้ฟังได้ฉุกคิด หรือเน้นให้เห็นข้อสังเกตได้ชัดขึ้น ได้แก่คำในทำนองต่อไปนี้คือ

However อย่างไรก็ตาม moreover ยิ่งกว่านั้น
Furthermore ยิ่งกว่านั้น consequently ดังนั้น
Nevertheless อย่างไรก็ดี accordingly เพราะฉะนั้น
Meanwhile ระหว่างนี้ therefore ดังนั้น

ตัวอย่าง
- john was sick ; he did go to school.
จอห์นไม่สบาย แม้กระนั้นเขาก็ยังไปโรงเรียนได้

-Amnat had a bad cold ; therefore , he didn t work.
อำนาจเป็นไข้หวัด ดังนั้นเขาจึงไม่ทำงาน

-She was tired and thisrsty ; moreover , she wariness cold.
หล่อนเหนื่อยและกระหายน้ำ ยิ่งกว่านั้นก็ยังหนาวอีกด้วย

-I don know this ; nevertheless, I don trust him.
ผมไม่รู้จักชายนี้ ยิ่งกว่านั้นผมก็ไม่ไว้วางใจเขาอีก

การเชื่อมด้วย co-ordinate conjunction
             co-ordinate conjunction (สันธานประสาน) ที่นำมาใช้เชื่อมประโยค simple sentence เพื่อให้ เป็นcompound sentence (ประโยครวม)นั้นแบ่งออกเป็น4 ชนิด หรือ 4 แบบ คือ
      1.แบบรวม ( Cumulative ) ได้แก่ and และคำเทียบเท่า คำที่มีความหมายคล้าย and (the cumulative and - type)ที่นำมาใช้เชื่อมเพื่อให้เป็น compound sentence ได้แก่คำต่อไปนี้คือ
And และ
And……too และ….อีกด้วย
And…..also และ…..อีกด้วย
      2. แบบเลือก ( disjunctive )ได้แก่ or และคำเทียบเท่าความหมายคล้าย or
(the disjunctive or-type )ที่นำมาใช้เชื่อมเพื่อให้เป็น compound sentence ได้แก่คำ
Or หรือ , มิฉะนั้นแล้ว
Or else หรือมิฉะนั้น
Either….or (อันนี้) หรือ (อันนั้น)
Neither…nor ไม่ (ทั้งอันนี้) และ (อันนั้น)
     3.แบบแยก (adversative ) ได้แก่ but และคำเทียบเท่าความหมายคล้าย but (the adversative but-type)ที่นำมาใช้เชื่อมเพื่อให้เป็น compound sentence นั้นได้แก่คำต่อไปนี้คือ
But แต่
While แต่,ส่วน
Whereas แต่, ด้วยเหตุนี้
Yet ยัง,ถึงอย่างนั้น
Still ยัง, ถึงอย่างนั้น
    4.แบบเหตุผล (Illative) ได้แก่ so และคำเทียบเท่า แบบเชื่อมความซึ่งเป็นเหตุเป็นผลแก่กันและกัน ได้แก่ so และคำที่มีความหมายคล้าย so the Illative so- type ได้แก่คำต่อไปนี้คือ
So ดังนั้น
For เพราะ, เพราะเหตุว่า
Therefore ดังนั้น
Consequently ดังนั้น
Accordingly เพราะฉะนั้น

วันอาทิตย์ที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2555

8th assignment : Grammar for Writing


 A.   Rewrite  the  entire  passage,  but  pretend  you  are  writing  about  a  person  who  used  to  live  in  the  city  and  doesn't  anymore. 

 Outdoor  Exercise

            Mark lives in the city, but he enjoys being outdoors. When he can, he spends his time outside. He doesn't take a  subway to work. He rides his bicycle. He doesn't eat (ate) lunch in a restaurant. He makes (made) his lunch himself and eats it in the park.   
            Museums don’t interest him and concerts bore him. He prefers to be outdoors and he chooses to entertain himself. Every morning he  runs  (ran) and plays tennis in the park and almost every weekend he  goes hiking in the country.  
           Bad weather doesn't stop him. He even gets (got) out in the rain. Mark is a healthy person. His outdoor exercise makes (made)  him so




Sentence Pattern 1
1. He sleeps 
on(complement) the (modifier) bed in(complement) the (modifier) room.
2. Several 
young(modifier) men ran after(complement) her
3. My friend sit 
on (complement) the(modifire) chair in(complement) the(modifier)libraly at(complement) the(modifire) university.
Sentence Pattern 2
1. I drink orange juice 
on(complement) the(modifire) sofa in(complement)the(modifire) living room.
2. They hit a dog 
in(complement) the(modifire) park.
3. He reads a book
 under(complement) the(modifire) tree in(complement)the(modifire) garden at(complement) the(modifire) universsity.
Sentence Pattern 3
1. We find it difficult to(complement) understand English.

2. She becomes a doctor in(complement) the(modifire) hospital.

3. The manager and the owner 
at(complement) this(complement) restaurant are my friend.
Sentence Pattern 4
1. The girl was sick 
in(complement) last(modifire) night.
2. The traffic is terrible 
at(complement) 5 o'clock in(complement) this(modifier)morning. 
3. It becomes much 
more(modifier) expensive to(complement) travel abroad.
Sentence Pattern 5
1. My brother buy me 
some(modifier) cookie in(complement) this(modifier)morning.
2. I sent you 
those(modifier) book in(complement) last(modifier) friday.
3. My mother give me money 
in(complement) this(modifier) afternoon.

วันจันทร์ที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2555

dictionary page


นางสาวกนกวรรณ  นุชสุวรรณ์ Sec:2    ID:54110296
คณะสาธารณสุขศาสตร์ ปี2


วันอาทิตย์ที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2555



Root

 Root (รากศัพท์) เป็นคำที่มาจากรากศัพท์ภาษากรีก (Greek) หรือภาษาละติน (Latin) ซึ่งจะมีความหมายอยู่ในตัวของมันเอง หากเราทราบและจำรากศัพท์ดังกล่าวได้เยอะๆ ก็จะดีที่จะช่วยเราในการเดาความหมายของคำศัพท์ ซึ่งคำศัพท์จำนวนไม่น้อยทีเดียวที่ประกอบด้วยรากศัพท์ เช่น pedmeter (เครื่องนับก้าว) แล้วก้อสามารถเดาคำแปลของคำเหล่านี้ได้pedal (เกี่ยวกับเท้า)  peddle ไร่ (เดิน)  pedstrian (คนเดินเท้า) เป็นต้น
http://tc.mengrai.ac.th/jareeya/Root.htm

PrefixPrefix แปลว่า อุปสรรค ได้แก่ คำที่ใช้เติมหน้าคำอื่น เพื่อให้ความหมายคำนั้นเปลี่ยนไป แต่ไม่เปลี่ยนชนิดของคำนั้น ตัวอย่างเช่น polite เป็นคำคุณศัพท์ เติมอุปสรรค im ลงไปเป็น impolite ก็ยังคงเป็นคำคุณศัพท์อยู่ตามเดิม (แต่ความหมายเปลี่ยนไปตรงกันข้าม) ยกเว้นอุปสรรค en ,em เท่านั้นที่ทำให้คำนั้นกลายเป็นกริยา คือ เปลี่ยนชนิดไป

Prefix แบ่งเป็น 3 ชนิด ตามลักษณะของคำที่ใช้นำหน้าคือ ;
1. ชนิดที่เติมข้างหน้าแล้วทำให้คำนั้นมีความหมายตรงกันข้ามได้แก่ un- , dis-, in-, im-, non-, etc. เป็นต้น
2. ชนิดที่เติ่มข้างหน้าแล้ว ทำให้คำนั้นเป็นกริยาขึ้นทาได้แก่ en-, em-
3. ชนิดที่เตมลงไปข้างหน้าแล้ว มีความหมายแตกต่างกัน ซึ่งผู้ศึกษาต้องจดจำเป็นตัวๆไป ได้แก่ co-, re-,supper-,etc. เป็นต้น

1.1 prefix (อุปสรรค) ที่เติมหน้าคำใด แล้วทำให้คำนั้นมีความหมายตรงกันข้าม หรือ มีความหมายเป็นปฎิเสธ (negative prefit) ได้แก่
un-,dis-,in- (ร่วมทั้ง im-,il-,ir-)
non-,mis-, เป็นต้น
ซึ่งแต่ละตัวใช้เติมหน้าคำได้ดังต่อไปนี้

Un- (ไม่) โดยปกติใช้เติมหน้าคำคุณศัพท์ (Adjective) เช่น ;,


= ใช้ il- เติม เมื่อคุณศัพท์ตัวนั้นขึ้นต้นด้วยพยัญชนะ 1 เช่น ;-



= ใช้ ir เติม เมื่อคุณศัพท์ตัวนั้นขึ้นต้นด้วยพยัญชนะ r เช่น;


ใช้ in- เติม เมื่อคุณศัพท์ที่ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะนอกจากที่กล่าวมาแล้ว เช่น ;-



Non- (ไม่) อุปสรรคคำนี้มักจะใช้เป็นคำศัพท์ทางวิชาการ ( technical Word) เสียมากกว่า ใช้เติมหน้าคำนามบ้าง คุณศัพท์บ้าง เช่น ;-

หมายเหตุ ; แต่เดิมอุปสรรค non- เมื่อใช้เติมหน้าคำมักใช้ hyphen มาคั่น เช่น; partisan non-partisan (ถือพรรคพวก-ไม่ถือพรรคพวก) แต่ปัจจุบันนี้ไม่ค่อยนิยมใช้ hyphen มาขั้นแล้ว


Mis(มิส) อุปสรรคตัวนี้ไม่ทำให้ความหมายตรงกันข้ามเหมือนตัวอื่น แต่ใช้ในความหมายว่า “ผิด, ไม่ถูกต้อง” ใช้เติมข้างหน้ากริยาเท่านั้น เช่น;-


2.2 Prefix ที่เติมหน้าคำใดๆ แล้วทำให้คำนั้นๆกลายเป็นกริยาขึ้นมาได้แก่ en หรือ em ซึ่งมีหลักการเติมดังนี้
En (ทำให้เป็นเช่นนั้น,ทำให้กลายเป็น) ใช้เติมข้างหน้าคำที่ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะทั่วไป เช่น;

3.3 Prefix ที่ใช้เติมข้างหน้าคำอื่น แล้วทำให้คำนั้นมีความหมายแตกต่างกันออกไปเป็นตัวๆได้แก่ prefix ต่อไปนี้ :-
Ante- (แอนทิ) มีความหมายเท่ากับ “ก่อน,แรก,ก่อนถึง” เช่น


In-, (im-, il-, ir ) (ไม่) ใช้เติมข้างหน้าคำคุณศัพท์เท่านั้น แต่จะใช้อุปสรรคตัวไหนเติม มีหลักเกณฑ์ดังนี้ ;
= ใช้ im- เติม เมื่อคุณศัพท์ตัวนั้นขึ้นด้วยพยัญชนะ b, m, p เช่น ;-


Dis- (ไม่) ใช้เติมข้างหน้ากริยา (Verb) บ้าง , หน้าคำนาม (none) บ้าง, หน้าคุณศัพท์ (adjective) บ้าง เช่น;






Over- (โอเวอร์) มีความหมายเท่ากับ “มากเกินไป” ใช้เติมหน้าคำกริยาเท่านั้น เช่น:



Suffix

suffix (ปัจจัย) คือ ส่วนที่เติมหลังรากศัพท์ (roots) ทำให้ได้คำศัพท์ใหม่ที่มีหน้าที่และความหมายของคำเปลี่ยนไป แต่ยังคงเค้าความหมายเดิมอยู่ เช่น

employ (ว่าจ้าง)   เป็น verb (คำกริยา) หากเราเติม Suffix "-er"   เป็น employer (นายจ้าง) ความหมายยังคล้ายของเดิม แต่ขอให้สังเกตว่าจะเปลี่ยนหน้าที่เป็น noun 
(คำนาม) 

เพื่อความสะดวกในการจำ เลยได้รวบรวมเป็นกลุ่มๆไว้ดังนี้


1. Noun Suffix  คือ คำนามที่ถูกสร้างขึ้นมา ซึ่งแบ่งเป็น 2 พวกใหญ่ๆ คือ
      - คำนามที่แสดงตัวผู้กระทำ (denoting an agent) ซึ่งถูกสร้างมาจาก Suffix
 ดังต่อไปนี้
-ant / -ent / - ar / -er / -ard /-eer / -ess / - ier / -yer / -ian / -ist / -or / -ster / -monger  ใช้เติมหลังคำกริยาหรือคำนาม , adj
 เพื่อให้เป็น นามผู้กระทำการเท่านั้น
      - 
คำนามที่แสดงตัวผู้รับการกระทำ (
denoting the receiver of an action) -ee / -ite / -ive

2.Verb Suffix คือ คำกริยาที่สร้างมาจาก Suffix อันได้แก่ -ate / -en / -fy / -ise / -ize

3.Adjective Suffix คือ คำคุณศัพท์ที่เกิดจากการนำ Suffixes เติมหลังคำนาม (Noun) ทำให้หน้าที่ของคำเปลี่ยนจากคำนามเป็นคำคุณศัพท์ ความหมายของคำจึงเปลี่ยนตามรูปคำศัพท์ไปด้วย โดยทั่วไป คำในภาษาอังกฤษส่วนใหญ่สร้างมาจากรากศัพท์เดียวกัน ในที่นี้ชื่อ ?ประเทศและ ?สัญชาติ?ก็มีหลักในการสร้างคำแบบเดียวกันกับวิธีที่กล่าวไว้ข้างต้น คือเมื่อต้องการเปลี่ยนจากชื่อประเทศเป็นสัญชาติ ก็สามารถทำได้โดยการเติม Suffix เข้าไปที่ท้ายชื่อประเทศ ดังตัวอย่างต่อไปนี้

              
Example  :         Taiwan            +          ese          =     Taiwanese                                  (ประเทศไต้หวัน)              (suffix)             (ชาวไต้หวัน)
จากตัวอย่าง คำว่า Taiwan ทำหน้าที่เป็นคำนาม แปลว่าประเทศไต้หวัน เมื่อเติม ese เข้าไป จะได้คำศัพท์ใหม่ คือ Taiwanese ซึ่งเป็นคำคุณศัพท์ที่ได้มาจากการเติม suffix ท้ายคำนาม ทำให้ได้ความหมายใหม่ คือ ชาวไต้หวัน
ต่อไปนี้เป็นตัวอย่างชื่อประเทศและสัญชาติ ที่เกิดจากการสร้างคำโดยใช้ suffix ในการเปลี่ยนหน้าที่และความหมายจากคำนามให้เป็นคำคุณศัพท์
Suffix 
Noun
 Adjective
-ese 
China          (ประเทศจีน)
Portugal      (ประเทศโปรตุเกส)
Japan          (ประเทศญี่ปุ่น) 
Chinese        (ชาวจีน)
Portuguese   (ชาวโปรตุเกส)
Japanese      (ชาวญี่ปุ่น)
-ish
Denmark    (ประเทศเดนมาร์ก)
Spain          (ประเทศสเปน)
Sweden      (ประเทศสวีเดน) 
Danish         (ชาวเดนมาร์ก)
Spanish      (ชาวสเปน)
Swedish      (ชาวสวีเดน)
-(i) an
Australia    (ประเทศออสเตรเลีย)
Indonesia   (ประเทศอินโดนีเซีย)
Russia        (ประเทศรัสเซีย) 
Australian (ชาวออสเตรเลีย)
Indonesian  (ชาวอินโดนีเซีย)
Russian       (ชาวรัสเซีย)
http://www.learners.in.th/blogs/posts/243943


Non
nonsmoker    แปลความหมายว่า   ผู้ที่ไม่สูบบุหรี่
smoker  แปลความหมายว่า  ผู้ที่สูบบุหรี่
nonstop  แปลความหมายก็คือ  ไม่หยุด ต่อเนื่องโดยไม่ชะงัก
stop แปลว่า หยุด  หรือชะงัก
nonprofit  ใช้กับองค์กร หรือหน่วยงานที่ไม่มีวัตถุประสงค์หากำไร เช่น มูลนิธิ
profit   แปลความหมายว่า  กำไร


Mis

misunderstand     แปลความหมายว่า    เข้าใจผิด
misplace              แปลความหมายว่า    วางผิดที่ผิดทาง ทำหาย
miscalculate         แปลความหมายว่า     คำนวณผิดพลาด 


Un
unemployment       แปลความหมายว่า  ไม่มีการจ้างงาน  ว่างงาน 
unfair                    แปลความหมายว่า  ไม่ยุติธรรม 
unequal                 แปลความหมายว่า   ลำเอียง ไม่เท่าเทียม 


In
international  แปลความหมายว่า  ระหว่างประเทศ / นานาชาติ
interactive     แปลความหมายว่า  มีการสื่อสารกันสองทาง 
intermediate  แปลความหมายว่า  คนที่อยู่ระดับกลางๆ  



Ir
irresponsible  แปลความหมาว่า    ขาดความรับผิดชอบ 
irrelevant       แปลความหมายว่า  ไม่เกี่ยวข้อง
irregular        แปลความหมายว่า   ผิดปกติ